วันจันทร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2559

โครงงานภาษาไทย


โครงงานคอมพิวเตอร์บรรณาการวิชาภาษาไทย
เรื่องคำสุภาษิต




จัดทำโดย
ด.ช.อดิศร แรมไพร ชั้น ม.3/2 เลขที่ 12
เสนอ
คุณครู วสันต์  กฤษฤาหรรษ์
คุณครู กุลฤดี  กฤษฤาหรรษ์
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของของโครงงานวิชาภาษาไทย (ท๒๓๑๐๑)
ภาคเรียนที่  ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
กลุ่มสาระการเรียนรุ้ภาษาไทย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต42
                                                              คำนำ
โครงงานสุภาษิตคำพังเพย เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง23102) จัดทำ
ขึ้นเพื่อให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับคำสุภาษิตคำพังเพยเข้ามาศึกษาหาความรู้ เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้
ที่สนใจแล้วนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ หากโครงงานสุภาษิตคำพังเพยผิดพลาดประการใด
คณะผู้จัดทำ ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย




คณะผู้จัดทำ
ด.ช.อดิศร แรมไพร




คณะผู้จัดทำ






กิตติกรรมประกาศ
ในการทำโครงงานสุภาษิตคำพังเพยนี้  คณะผู้จัดทำได้รับคำปรึกษาแนะนำในการทำโครงงานนี้

คือ คุณครู วสันต์  กฤษฤาหรรษ์
คุณครู กุลฤดี  กฤษฤาหรรษ์

รวมทั้งเพื่อนในกลุ่ม ที่ให้ความร่วมมือในด้านการทำงานและความสามัค
คี  คณะผู้จัดทำโครงงานจึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงมา  ณ โอกาสนี้











                                                             บทคัดย่อ

ในการทำโครงงานสุภาษิตคำพังเพยมีวัตถุประสงค์ เพื่ออนุรักษ์สำนวน สุภาษิต คำพังเพย ที่เป็นไทย
ไว้และ
เผยแพร่สำนวน สุภาษิต คำพังเพย แก่ผู้ที่สนใจ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปเป็นคติเตือนใจในชีวิต
ประจำวัน 













                                                         สารบัญ
หน้า
คำนำ                                                                                               ก                                                                                           
กิตติกรรมประกาศ                                                                                      
บทคัดย่อ                                                                                                                      
บทที่1...............................................................................................1                                                                 
บทที่2…………………………………………………2                                                                                                                                                                        
บทที่3...............................................................................................3                                                                
บทที่4...............................................................................................4                                                              
บทที่5...............................................................................................5                                                                                             
ภาคผนวก.........................................................................................6
บรรณานุกรม....................................................................................7









บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
           เนื่องจากทางคณะผู้จัดทำได้แลเห็นว่าปัจจุบันนี้คนเรามักมอง  ข้ามสุภาษิตคำพังเพยทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทำจึงจัดทำสื่อเพื่อที่จะเผยแพร่สุภาษิตคำพังเพยและแสดงคำนิยมของมนุษย์มาตั้งแต่โบราณกาลมนุษย์ได้นำสำนวนสุภาษิตคำพังเพยนำมาใช้ในการให้ข้อคิดและแนวปฏิบัติรวมทั้งคติเตือนประจำใจในด้านการอบรมสั่งสอนพร้อมทั้งเป็นการพูดให้เกิดความคิดสำนึกที่ดี
วัตถุประสงค์
1.เพื่ออนุรักษ์สำนวนสุภาษิต คำพังเพย ที่เป็นไทยไว้
2.เพื่อเผยแพร่สำนวนสุภาษิต คำพังเพย แก่ผู้ที่สนใจ
3.เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
ศึกษาข้อมูลจาก  - หนังสือ จับกระแสโลก” , อินเตอร์เน็ต , หนังสือ สำนวนสุภาษิตคำพังเพย







บทที่ 2
                  เอกสารที่เกี่ยวข้อง                   
          สำนวน คือ ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีความหมายพิเศษ  ไม่ตรงกับความหมายที่ใช้ตามปกติทั้งนี้อาจจะเป็นคำที่มีความหมายโดยนัย   หรือ  ความหมายในเชิงเปรียบเทียบเป็นลักษณะคำพูดที่รวมใจความยาวๆ  ให้กะทัดรัดบางส่วนอาจหมายถึงสุภาษิตและคำพังเพยด้วย
          สุภาษิต คือ คำพูดที่ถือเป็นคติ   มีความลึกซึ้งใช้สั่งสอนถือเป็นการวางแนวและแสดงค่านิยมของมนุษย์มาแต่โบราณกาล    เช่น  สุภาษิตสอนหญิง  สุภาษิตพระร่วง   ก็มีข้อความสั่งสอนที่ค่านิยมของสมัยนั้นๆไว้อย่างชัดเจนตลอดจนพุทธสุภาษิตคำสั่งสอนตามแนวทางพระพุทธศาสนา         
          คำพังเพย  คือ เป็นคำเปรียบเทียบเรื่องต่างๆ ที่ใช้ติชม  ซึ่งสะท้อน ถึงความคิด ความเชื่อถือและค่านิยม  อันเป็นลักษณะของคนไทย  เช่น  ค่านิยมในการยกย่องผู้อาวุโส  เคารพครูบาอาจารย์และนิยมความสุภาพอ่อนโยน     
สำนวน    สุภาษิต    คำพังเพย
ไม่กระดิกหู                                           หมายถึง      ไม่รู้หนังสืออ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
กงเกวียน  กำเกวียน                              หมายถึง      ทำกับเขาอย่างไร  เขาก็ทำแก่ตนอย่างนั้น
กระชังหน้าใหญ่                                   หมายถึง      ใช้จ่ายไม่ยั้งมือ  ไม่รู้จักเก็บหอมรอมริบ
กระต่ายตื่นตูม                                      หมายถึง       ตื่นตกใจง่ายโดยไม่สำรวจให้ท่องแท้
กระต่ายหมายจันทร์                             หมายถึง      ชายที่หมายปองหญิงที่มีฐานะสูงกว่า
กระโถนท้องพระโรง                           หมายถึง        ผู้ที่ใคร ๆ ก็ใช้ได้  หรือรุมกันใช้
กลมเป็นลูกมะนาว                              หมายถึง       หลบหลีกได้คล่องจนจับไม่ทัน
บทที่   3
วิธีการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.   ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน                                                                                                
2.  ผู้ศึกษาร่วมกันประชุมวางแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน
3.   ผู้ศึกษาร่วมกันกำหนดบทประพันธ์วรรณคดีหนังสือต่างๆ  ดังนี้ หนังสือฉบับปรับปรุงใหม่    หนังสือสำนวนสุภาษิต   หนังสือคำคมสุภาษิตสอนหญิงชาย
4.   ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงานเพื่อมาวิเคราะห์และสรุปเนื้อหาที่สำคัญที่จะนำมาจัดทำโครงงาน
5.   นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน
6.   จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษาและรายงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา
1.   หนังสือสุภาษิตคำพังเพย
2.  หนังสือจับกระแสโลก
3.   ปากกา   ยางลบ   ดินสอไม้บรรทัด
4.    อินเตอร์เน็ต
5.   กระดาษ
6.    ยางลบ                                            7.    ดินสอ
บทที่  4
ผลการศึกษาค้นคว้า
ผลการศึกษาค้นคว้า
สำนวน คือ  ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีความหมายพิเศษ  ไม่ตรงกับความหมายที่ใช้ตามปกติทั้งนี้อาจจะเป็นคำที่มีความหมายโดยนัย   หรือ   ความหมายในเชิงเปรียบเทียบเป็นลักษณะคำพูดที่รวมใจความยาวๆ  ให้กะทัดรัดบางส่วนอาจหมายถึงสุภาษิตและคำพังเพยด้วย
สุภาษิต  คือ  คำพูดที่ถือเป็นคติ   มีความลึกซึ้งใช้สั่งสอนถือเป็นการวางแนวและแสดงค่านิยมของมนุษย์มาแต่โบราณกาล    เช่น  สุภาษิตสอนหญิง  สุภาษิตพระร่วง   ก็มีข้อความสั่งสอนที่ค่านิยมของสมัยนั้นๆไว้อย่างชัดเจนตลอดจนพุทธสุภาษิตคำสั่งสอนตามแนวทางพระพุทธศาสนา            
คำพังเพย   คือ  เป็นคำเปรียบเทียบเรื่องต่างๆ เนื้อใช้ติชม  ซึ้งสะท้อน ถึงความคิด ความเชื่อถือและค่านิยม  อันเป็นลักษณะของคนไทย  เช่น  ค่านิยมในการยกย่องผู้อาวุโส  เคารพครูบาอาจารย์และนิยมความสุภาพอ่อนโยน 
สำนวน    สุภาษิต    คำพังเพย   
ไม่กระดิกหู                      หมายถึง      ไม่รู้หนังสืออ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
กงเกวียน  กำเกวียน          หมายถึง      ทำกับเขาอย่างไร  เขาก็ทำแก่ตนอย่างนั้น
กระชังหน้าใหญ่               หมายถึง      ใช้จ่ายไม่ยั้งมือ  ไม่รู้จักเก็บหอมรอมริบ
กระต่ายตื่นตูม                  หมายถึง       ตื่นตกใจง่ายโดยไม่สำรวจให้ท่องแท้
กระต่ายหมายจันทร์         หมายถึง      ชายที่หมายปองหญิงที่มีฐานะสูงกว่า

บทที่ 5
สรุปผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
          จากการที่คณะผู้จัดทำได้มีความสนใจศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยตามวัตถุประสงค์คือเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ   สำนวน    สุภาษิต    คำพังเพย      โดยแบ่งตามลำดับอักษรพยัญชนะไทยเนื้อจากสำนวนสุภาษิตคำพังเพยจากบทประพันธ์    วรรณคดี     หนังสือต่างๆ    ได้แก่     หนังสือสำนวน        สุภาษิต         คำพังเพย     หนังสือคำคมสุภาษิตสอนหญิงชาย    ซึ่งพบว่า สำนวน       สุภาษิต       คำพังเพย      มีจำนวนมากซึ่งถ่ายทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณที่ใช้สั่งสอนอบรมบุตรหลานให้มีคุณธรรมซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีการนำ สำนวน  สุภาษิต  คำพังเพย   มาใช้ในชีวิตประจำวันซึ่งเราได้ยินอยู่บ้างในปัจจุบันเพื่อให้ประชาชนประพฤติปฏิบัติมีคุณธรรมและสามารถอยู่รวมกันได้ในสังคมอย่างสงบสุข         
                                                              
อภิปรายผล
     จากการศึกษาค้นคว้าโครงงานเรื่อง  การศึกสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
สำนวนหมายถึง     คำที่พูดคือเป็นคติ     มีความลึกซึ้ง   ใช้สอน    คือการวางแนวและแสดงคำนิยมของสมัยโบราณ     เช่น    คำว่าน้ำพึ่งเรือเสือ     เสือพึ่งป่า    
สุภาษิตหมายถึง      เป็นคำเปรียบเทียบเรื่องต่างๆ   เพื่อใช้ติชมสะท้อนถึงความคิดความเชื้อถือ    และค่านิยม  อันเป็นลักษณะของคนไทย    เช่นคำว่าบ้านเคยอยู่      อู่เคยนอน
คำพังเพยหมายถึง     ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีความหมายพิเศษ   ไม่ตรงกับความหมายตามปกติทั้งนี้อาจจะเป็นคำที่มีความหมายโดยนัย  หรือความหมายในเชิงเปรียบเทียบ   เช่นคำว่า     กินบนเรือนขี้รถบนหลังคา  



ประโยชน์ที่ได้รับ      
1.   เกิดความสามัคคีภายในกลุ่ม
2.   มีความรู้เกี่ยวกับสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
3.    มีความเข้าใจเกี่ยวกับการนำสำนวนสุภาษิตคำพังเพยมาใช้
4.   ได้ฝึกทักษะในการวาดภาพประกอบสุภาษิตคำพังเพย
ข้อเสนอแนะ                                                    
จากการศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงงานคือ
1.  เนื่องจากเนื้อหาของสำนวนสุภาษิตคำพังเพยอาจมีจำนวนมากในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาอาจหรือยกเนื้อหาของสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
2.  ควรมีการจัดทำเป็นหนังสืออินเล็กทรอนิเผยแพร่ทางเว็บไซต์ในโอกาสต่อไป
3.  นำผลจากการศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยไปสร้างเป็นสื่อในรูปแบบต่างๆ    เช่น    นิทาน  เรื่องสั้น  บทละคร  เป็นต้น   เพื่อให้เหมาะสมกับผู้รับสาร








                            ภาคผนวก
           

 

           











บรรณานุกรม


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น